สนามฟุตบอล มาตรฐานสนามฟุตบอลโลกที่ต้องรู้ก่อนเล่น
สนามฟุตบอล การเรียนรู้สนามฟุตบอลเกร็ดความรู้ที่ดี สนามฟุตบอลคือ บริเวณที่ใช้การเล่นฟุตบอลซึ่งเป็นสนามรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากและมีพื้นสนามเป็นหญ้า โดยบนสนามจะมีเส้นสีขาวแสดงถึงขอบเขตของสนาม โดยเส้นสี่เหลี่ยมรอบนอกจะเป็นเส้นขอบสนาม
ซึ่งเมื่อลูกฟุตบอลยังอยู่บนเส้นหรือลอยเหนือเส้น ยังถือว่าลูกฟุตบอลอยู่ในสนาม ยกเว้นแต่ว่าลูกฟุตบอลทั้งลูกออกภายนอกเส้น เช่นเดียวกับการทำประตู ถ้าลูกฟุตบอลยังคงอยู่เหนือเส้นยังไม่ถือว่าเป็นประตู วงกลมตรงกลางสนามจะเป็นจุดเริ่มต้นของการแข่งขัน
โดยลูกฟุตบอลจะถูกวางไว้ตรงจุดศูนย์กลางของวงกลม สำหรับกรอบสี่เหลี่ยมที่อยู่ปลายทั้งสองข้างของสนามคือ กรอบเขตโทษ และจะมีจุดโทษอยู่ภายในสำหรับวางตำแหน่งของลูกฟุตบอลใน การยิงลูกโทษ สนามฟุตบอลโดยทั่วไปแล้วจะมีขนาดความยาว ตั้งแต่ 90-120 เมตร และกว้างตั้งแต่ 45-90 เมตร ทำให้มีพื้นที่ 4,050-10,800 ตารางเมตร
ความแตกต่างของพื้นที่ยังทำให้จำนวนผู้เล่น ต่างกันตามขนาดของสนามแต่ละประเภทอีกด้วยสนามหญ้าจริงสนามฟุตบอลหญ้าจริงเป็นสนามฟุตบอลที่มีการใช้อย่างแพร่หลายมาเป็นเวลานานจะดีกว่าสนามหญ้าเทียมหรือสนามฟุตซอล
ป้องกันผู้เล่นจากการบาดเจ็บได้ดี มีความนุ่มแล้วลดปัญหาการลื่นล้มได้ดี แต่สนามหญ้าจริงก็มีข้อจำกัดอยู่พอควรเพราะหญ้าจริงต้องเป็นสนามกลางแจ้งเท่านั้น ทำให้มีปัญหาในกรณีฝนตกยิ่งไปกว่านั้นหญ้าจริงยังต้องการการดูแลมากกว่าเพราะจำเป็นต้องคอยบำรุงรักษา และมีค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสูง
ถ้ามองย้อนมาในอดีตก่อนหน้านี้ 30-40 ปี ในช่วงนั้นยังไม่ได้รับความนิยมเนื่องจากมีปัญหาผู้เล่นได้รับบาดเจ็บจากกการใช้สนามฟุตบอลหญ้าเทียมต่อมาทางบริษัทผู้ผลิตหญ้าเทียมได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ใกล้เคียงกับหญ้าจริงมากที่สุดและช่วยลดการบาดเจ็บในการเล่นจึงเกิดการนิยมอย่างแพร่หลายในประเทศโซนยุโรปซึ่งมีสภาวะทางอากาศเป็นเขต หนาว หิมะตก ทำให้หมดปัญหาในการดูแลรักษาหญ้าจริง
จุดเริ่มต้นของการแข่งขันลูกฟุตบอล จะถูกวางไว้ตรงจุดศูนย์กลางของวงกลม สำหรับกรอบสี่เหลี่ยมที่อยู่ปลายทั้งสองข้างของสนามคือ กรอบเขตโทษ และจะมีจุดโทษอยู่ภายในสำหรับวางตำแหน่งก็พอได้ทราบที่มาที่ไปของสนามฟุตบอลกันไปพอคร่าวๆแล้วนะคะไปต่อกันที่ขนาดของสนามฟุตบอล
สนามฟุตบอล การวัดสนามตามกฎฟีฟ่า
ในการแข่งขันฟีฟ่า ตัวอย่างฟุตบอลอังกฤษที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในการลงแข่งได้ทั้งบนพื้นสนามหญ้าจริงและพื้นสนามหญ้าเทียม จะใช้ทำการแข่งขันในการพบกันของทีมที่เป็นสมาชิกของฟีฟ่า หรือในเกมระดับชาติ โดยพื้นหญ้าต้องผ่านข้อกำหนดขั้นต่ำที่ฟีฟ่า ตั้งไว้หรือตามมาตรฐานสนามหญ้าเทียมระดับนานาชาติ เว้นเสียแต่ฟีฟ่า จะยกเว้นเป็นกรณีพิเศษ
การตีเส้น เส้นสนามต้องถูกตีเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าอยู่เสมอ โดยมีเส้นแบ่งเขตชัดเจน สองเส้นที่ยาวที่สุดในสนามเรียกว่า ทัชไลชน์ (เส้นข้างสนาม) ส่วนสองเส้นที่สั้นที่สุดเรียกว่า โกลไลน์ (เส้นประตู) สนามจะถูกแบ่งออกเป็นสองฝั่งด้วยเส้นมัธยฐานเชื่อมกับจุดกึ่งกลางของสนาม ส่วนจุดศูนย์กลางของสนามจะถูกทำเครื่องหมายด้วยจุด โดยวาดวงกลมที่มีเส้นรัศมี 9.15 เมตรล้อมรอบอยู่
ขนาดของสนาม ตามกฎของ ฟีฟ่า สนามฟุตบอลทั่วไปสามารถมีขนาดเล็กที่สุดที่สามารถทำการแข่งขันได้คือ 45 เมตร x 90 เมตร ขณะสูงที่สุดมีขนาด 90 เมตร x 120 เมตร ในอีกด้านหนึ่ง สำหรับการแข่งขันอย่างเป็นทางการหรือเกมระดับนานาชาติของ ฟีฟ่า จะต้องมีขนาดอยู่ในขั้นต่ำ 64 เมตร x 100 เมตร และสูงสุด 75 เมตร x 110 เมตร
เขตโทษและกรอบประตู พื้นที่ข้างในกรอบเขตโทษถูกแบ่งด้วยสองเส้นที่ตั้งฉากกับเส้นประตู มีระยะห่างจากเสาประตูข้างละ 5.5 เมตร และขยายเข้าไปในสนาม 5.5 เมตร เชื่อมปลายเข้าด้วยกันโดยขนานเข้ากับเส้นประตู จนเป็นพื้นที่ในเขตโทษ โดยมีกรอบประตูวางอยู่กึ่งกลางของเส้นประตทั้งสองฝั่ง
ส่วนของกรอบประตูต้องทำขึ้นจาก ไม้, เหล็ก หรือวัสดุที่ได้รับการรับรอง โดยเสาประตูจะตั้งห่างกัน 7.32 เมตร และระยะความสูงที่วัดจากส่วนขอบล่างของคานประตูถึงพื้นอยู่ที่ 2.44 เมตร
มารู้จักสนามฟุตบอลในตำนาน ของวงการฟุตบอลทั่วโลก
การเกิดขึ้นของ โอลิมปิก ไม่ได้มีผลแค่การพัฒนาวงการกีฬาเท่านั้น แต่โอลิมปิกยังเกี่ยวพันโดยตรงกับการพัฒนาอุตสาหกรรมต่างๆ การพัฒนางานดีไซน์ของ สนามกีฬา ก็ล้วนมีจุดเริ่มจากมหกรรมกีฬาระดับโลกอย่างโอลิมปิก สนามกีฬา คัดเลือก 6 สนาม ระดับโลก ซึ่งเกินกว่าครึ่งเกิดขึ้นจากประวัติศาสตร์การแข่งขันโอลิมปิกเกมทั้งสิ้น
1.“Villa Park” หนึ่งในสนามเก่าแก่ของยุโรป วิลลาพาร์ก เป็นสนามฟุตบอลของสโมสรแอสตันวิลลา (AVFC) เมืองเบอร์มิงแฮม ประเทศอังกฤษ นอกจากจะเป็นสนามที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของยุโรปและของโลกแล้ว ผู้วางมาตรฐานการสร้างสนามฟุตบอลของอังกฤษและของโลก เป็นสนามต้นแบบด้านในได้แบ่งอัฒจันทร์ออกเป็น 2 ชั้น มีระเบียงสร้างจากคอนกรีตพร้อมรั้วเหล็กติดตั้งถาวร ทำให้ สนามกีฬา มีความแข็งแรง ปลอดภัยต่อผู้ชม ทั้งยังเสริมความมันในการเชียร์ฟุตบอลได้ยิ่งขึ้น
2.“Maracana” หนึ่งในสนามฟุตบอลที่ใหญ่ที่สุดในโลก นามมารากานัง ประเทศบราซิล มีรูปร่างคล้ายแหวนขนาดใหญ่ซ้อนกัน โดดเด่นด้วยเสาคอนกรีตรูปตัว Y เพื่อเสริมความมั่นคงมากถึง 60 ต้น สนามมารากานังสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการแข่งขันฟุตบอลโลก ค.ศ.1950 สามารถจุผู้ชมในการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศได้มากถึง 199,854 คน
3.“Olympiastadion” สนามกีฬาหลังยุคนาซี สนามโอลึมเพียชตาดิโยน ตั้งอยู่ที่ประเทศเยอรมนี เปิดใช้ครั้งแรกในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อนที่เมืองมิวนิก สนามแห่งนี้ออกแบบโดย กึนเทอร์ เบนิช (Günter Behnisch) สถาปนิกชาวเยอรมัน โดดเด่นด้วยหลังคาเหล็กกล้าโปร่งแสงที่คลุมพื้นที่สนามเป็นระลอกคลื่น นับเป็นสถาปัตยกรรมแบบผืนผ้าใบโครงสร้างที่ใหญ่ที่สุดในขณะนั้น ตัวสนามจุผู้ชมได้ราว 69,250 คนเพื่อแสดงให้เห็นทิศทางการพัฒนาใหม่ ๆ ของประเทศ
สนามฟุตบอลการแข่งขัน โอลิมปิก ตำนานความยิ่งใหญ่
4.“Stadium Australia” สนามกีฬาทรงหมวกอะคูบรา สนาม ANZ หรือ Stadium Australia เป็นสนามกีฬาหลักของเมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย และมักถูกใช้งานในเกมแข่งขันรักบี้ระดับโลก จุดประสงค์แรกของสนามแห่งนี้คือสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการแข่งขันโอลิมปิก ค.ศ. 2020 ออกแบบโดยบริษัท Bligh Lobb Sports Architects โดยรูปทรงสนามดัดแปลงจากหมวกอะคูบรา (akubra) ของออสเตรเลีย หลังคาเลือกใช้พอลิคาร์บอเนตที่โปร่งแสงทั้งสองด้าน ทั้งยังลดการใช้โครงเหล็ก และออกแบบให้มีพื้นที่อากาศถ่ายเท สามารถจุผู้ชมถึง 110,000 คน
5.“Allianz Arena” สนามกีฬาเรืองแสงแห่งแรก สนามอัลลิอันซ์อาเรนา ไม่ได้เป็นแค่สนามกีฬาที่ใหญ่ติด 1 ใน 3 ของเยอรมนีเท่านั้น แต่ที่นี่ยังเป็นอีกจุดเช็กพอยท์ของนักท่องเที่ยวที่ไปเยือนเมืองมิวนิก สนามกีฬาที่หน้าตาคล้าย “เรือยาง” นี้ออกแบบโดยบริษัท Herzog & de Meuron จากสวิตเซอร์แลนด์ ต้นแบบการออกแบบ สนามกีฬา ยุคโมเดิร์นที่ใส่เรื่องแฟชัน ฟังก์ชัน และการตลาดลงไปในคราวเดียว สนามอัลลิอันซ์อาเรนาจุผู้ชมได้ราว 70,000 คน ปัจจุบันเป็นสนามของสโมสรบาเยิร์นมิวนิก
6.“Al Janoub” สนามบอลโลกสุดล้ำโดย Zaha Hadid ในบรรดางานออกแบบสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ระดับโลกเช่น สนามกีฬา จะขาดชื่อของสถาปนิกหญิงชาวมุสลิมผู้เป็นตำนานอย่าง ซาฮา ฮาดิด (Zaha Hadid) เพราะเธอคือสถาปนิกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับรางวัล Pritzker Architecture Prize
ซึ่งเป็นรางวัลสูงสุดของวงการสถาปนิกนอกจากฉายา “ราชินิแห่งเส้นโค้ง” แล้ว ซาฮา ฮาดิด ยังมีซิกเนเจอร์อยู่ที่การฉีกกรอบของรูปทรงเรขาคณิต อันที่จริงความอลังการสไตล์ ซาฮา ฮาดิด จะได้มาปรากฏอยู่ที่การแข่งขันโอลิมปิก 2020 ที่กรุงโตเกียวกับการออกแบบสนามกีฬาแห่งชาติสำหรับโอลิมปิกโตเกียว 2020
แต่กระนั้นในปี 2022 ความยิ่งใหญ่ในงานออกแบบของเธอจะต้องถูกพูดถึงอีกครั้งกับการออกแบบสนามฟุตบอล Al Janoub หรือ Al Wakrah ที่สร้างขึ้นสำหรับการแข่งขัน FIFA World Cup Qatar 2022 ฟุตบอลโลกครั้งแรกที่จะถูกจัดขึ้นในโลกอาหรับ ณ ประเทศกาตาร์ คาดว่าสนามแห่งนี้จะจุผู้ชมได้ราว 20,000 คน
โดยสนามทั้งหมด 6 แห่งที่คัดเลือก แต่ละสนามฟุตบอลการแข่งขัน โอลิมปิก ที่มีการแข่งขันฟุตบอลในระดับนานาชาติจะถูกวางระเบียบโดยฟีฟ่า ซึ่งรายการแข่งขันที่มีเกียรติสูงสุดในระดับนานาชาติ ผู้คนให้ความสนใจทั่วโลก
สนามฟุตบอลที่มีความจุเยอะ พร้อมต้อนรับแฟนบอลทั่วโลก
สนามฟุตบอลที่มีความจุเยอะ พร้อมต้อนรับแฟนบอลทั่วโลก จากการคัดเลือกมาทั้งหมด 5 สนาม ที่มีความโด่ดดัง ก็ได้รับความนิยมและเป็นที่แพร่หลาย
1. รึงราโด เฟิร์สท์ออฟเมย์ สเตเดี้ยม สนามรึงราโด เฟิร์สท์ออฟเมย์ สเตเดี้ยม ของ เกาหลีเหนือ เป็นสนามฟุตบอลที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกโดยมีความจุถึง 114,000 ที่นั่ง ที่ตั้ง เปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ
2. เมลเบิร์น คริกเก็ต กราวนด์ ที่ตั้ง เมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ความจุ 100,024 ที่นั่ง สนามเหย้าของทีมชาติออสเตรเลีย
3. คัมป์ นู ที่ตั้ง บาร์เซโลนา ประเทศสเปน ความจุ 99,354 ที่นั่ง สนามเหย้าของ เอฟซี บาร์เซโลนา
4. เอฟเอ็นบี สเตเดี้ยม ที่ตั้งโจฮันน์เนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ ความจุ 94,736 ที่นั่ง สนามเหย้าของทีมชาติแอฟริกาใต้ และไคเซอร์ ชิฟส์
5. โรส โบว์ล ที่ตั้งพาซาเดนา แคลิฟอร์เนีย ความจุ 90,888 ที่นั่ง สนามเหย้าของบูซีแอลเอ บรุนส์
สนใจเล่นเกมพนันออนไลน์ ให้บริการการวางเดิมพันออนไลน์ ที่เป็นที่รู้จักกันในวงกว้างในหมู่นักพนันออนไลน์ เลือกเล่นพนันได้ได้มากมาย คาสิโน แทงบอล หวย เป็นต้น สามารถเล่นได้ทุกอุปกรณ์ ไม่ว่าจะเป็นการเล่นบนคอมพิวเตอร์ มือถือ ทั้งระบบ iOS และ Android ได้สามารถสมัครได้ที่นี้ ไลน์แอด